當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 爲何如今的社交網絡成了“人間修羅場”?

爲何如今的社交網絡成了“人間修羅場”?

推薦人: 來源: 閱讀: 2.3W 次

如今的社交網絡已然成了“人間修羅場”,無腦黑、槓精、鍵盤俠、女拳師等層出不窮,他們秉持着“無事生非、小事鬧大”的原則,將社交網絡搞得是“烏煙瘴氣”,沒有片刻安寧。除了上述原因外,還有哪些因素使得社交網絡變了味呢?


ทุกวันนี้ ไม่ว่าเราจะใช้โซเชียลมีเดียแพลตฟอร์มไหนก็ตาม อาจเป็นเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม หรืออื่น ๆ เรามักจะเจอดราม่าอยู่เสมอ เรียกได้ว่าดราม่าไม่เว้นวันเลยก็ได้ ทำให้นับวันการใช้ชีวิตในโซเชียลมีเดียก็ดูจะไม่ค่อยจะสนุกเหมือนแต่ก่อน มองไปทางไหนก็เจอแต่เรื่องชวนหัวร้อนน่าโมโห ดราม่ากันได้ทุกเรื่องบนโลกใบนี้ ทั้งที่จริง ๆ แล้ว เรื่องดราม่าพวกนี้มันเกิดขึ้นจาก “ตัวเราเอง” เป็นหลัก และนี่คือสาเหตุหลัก ๆ ที่ทำให้โลกโซเชียลมีเดียทุกวันนี้อุดมไปด้วยเรื่องดราม่า

現如今,無論是使用 Facebook、Twitter、Instagram 還是其他社交軟件,都總能“巧遇”撕逼大戲,可以說是沒有哪天消停過,這也使得社交網絡不像從前那樣和諧有趣。如今的社交網絡可謂是“處處引人怒,事事皆可撕”。老實說,社交網絡之所以落到如今的境地,歸根結底還是由我們自身造成的。

ing-bottom: 64.69%;">爲何如今的社交網絡成了“人間修羅場”?


แสดงความคิดเห็นอิสระจนเกินไป
言論自由缺乏一個度

หลายคนมองว่าโซเชียลมีเดียเป็น “พื้นที่ส่วนตัว” ฉันจะทำอะไรก็ได้ มันของฉันนี่นา ทั้งที่ความจริงแล้ว ไม่ว่าอะไรก็ตามที่อยู่บน “ออนไลน์” เราจะพูดได้เต็มปากเต็มคำเหรอว่ามัน “ส่วนตัว” เพราะใครก็เข้ามาเห็น ใครก็เข้าถึงได้ (ถ้าส่วนตัวจริง ๆ คือ รู้อยู่คนเดียว เขียนลงสมุดแล้วใส่ตู้ล็อกกุญแจต่างหาก) ฉะนั้น อย่าอ้างว่านี่คือสิทธิเสรีภาพบนพื้นที่ของฉัน ฉันจะโพสต์จะพิมพ์อะไรก็ได้ ทั้งที่มันอาจกระทบคนอื่น แบบนี้ไม่น่ารักเลย
很多人視社交網絡爲“私人空間”,想做什麼做什麼,別人管不着。但事實是,對於網絡上的一切,我們都無法保證其隱私性,因爲任何人都能看得見、都能訪問。真正的“隱私”是指只有自己一人知曉,好比寫入筆記本中並鎖進櫃子裏。因此,別再以“我的地盤我做主”爲藉口,在社交網絡上任意發佈可能傷及他人的言論,這種行爲一點都不討喜。

爲何如今的社交網絡成了“人間修羅場”? 第2張


แสดงความคิดเห็นในฐานะแอคผี ไม่มีใครรู้นี่ว่าฉันเป็นใคร
殭屍號大行其道

เพราะการสมัครแอคเคาท์ในโซเชียลมีเดีย เราไม่จำเป็นต้องกรอกข้อมูลจริง ทำให้ใครก็ตามสามารถมีบัญชีใช้งานได้จะตั้งเป็นชื่อจริง ชื่อแฝง ชื่อดารา แม้แต่ชื่อเพื่อนก็ยังใช้ได้ ส่วนรูปก็ใช้รูปหมาแมว รูปการ์ตูน รูปดาราได้หมด พอมีเรื่องอะไรดัง ๆ ก็แค่แสดงความคิดเห็นแบบแรง ๆ เพื่อสถาปนาตัวเองเป็นเซเลบได้โดยที่ไม่มีใครรู้หน้าตาจริง เมื่อไม่มีใครรู้ก็แรงได้เต็มที่ไม่ต้องกลัวอะไร ถ้าโดนด่าก็แค่ปิดแอคเคาท์หนีแล้วเปิดใหม่ ก็คัมแบ็กได้อย่างงดงาม
這是因爲在註冊社交平臺的賬號時,我們不必填寫真實信息,每個人都可選擇使用真名、化名、明星或朋友的名字來註冊賬號。至於頭像,則可使用小貓小狗的圖片、動漫圖片或明星圖片。一但社交網絡上出現什麼熱門話題,這些殭屍號就借發表一些激烈言論來博取關注,因爲反正也沒人知曉其真實身份,所以毫無顧慮。如果被人回擊,只要註銷賬號重新註冊一個就能“捲土重來”。

爲何如今的社交網絡成了“人間修羅場”? 第3張


ตรรกะ “เป็นคนสาธารณะก็ต้องยอมรับคำวิจารณ์ได้”
“公衆人物就該被點評”的強盜邏輯根深蒂固

คนดังทั้งหลายคงเจอกับตรรกะ “คุณเป็นคนสาธารณะ คุณก็ต้องยอมรับคำวิจารณ์ได้สิ” กันทุกคน ถ้า “ติเพื่อก่อ” ก็นับว่าเป็นประโยชน์ แต่คนสมัยนี้แยกไม่ออกระหว่างคำวิจารณ์กับคำด่า ฉะนั้น จะโพสต์ จะคอมเมนต์อะไรก็ขอให้คิดสักนิดว่า “เขาก็เป็นคนคนหนึ่ง” ถ้ามันเป็นเรื่องของเขา เราไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก็ไม่ต้องอยากมีส่วนร่วมกับเขาทุกเรื่องก็ได้ เกิดเขาฟ้องขึ้นมาจะไม่คุ้ม หากอยากด่า ด่าในใจ อยากซุบซิบ ก็นินทาในแก๊งเพื่อนก็น่าจะพอแล้ว
每一位公衆人物都是上述強盜邏輯的受害者。如果是善意的點評,那可欣然接受,但問題在於這個時代的人分不清何爲點評、何爲辱罵。因此,我們在發表言論或留言時,要時刻提醒自己“公衆人物跟我們一樣都是普通人”。如果是他人的私事,且與我們毫無利益關係,那沒必要事事都去湊熱鬧。倘若因留惡評而被起訴,豈不是得不償失。如果真的想罵,就在心裏敞開罵。如果想八卦,就跟朋友吃吃瓜。

爲何如今的社交網絡成了“人間修羅場”? 第4張


โนสนโนแคร์ ใครแย้งมาคือด่าหมด
凡事不在乎,倘若有人擡槓,必重拳出擊

สังเกตไหมว่าโลกโซเชียลตอนนี้ หากมีใครแย้งอะไรมา เจ้าของโพสต์หลายคนมักไม่ปล่อยผ่าน ต้องตอบโต้นิด ๆ หน่อย ๆ แต่ดันเป็นการตอบโต้ที่ไม่มีใครยอมใคร ด่ากันไปมาหาสาระไม่ได้ ใช้ตรรกะวิบัติ หรือไม่ก็ใช้ถ้อยคำแสดงความเกลียดชัง ใครคิดต่างต้องไล่ลบ ไล่ด่า ไล่บล็อก ไม่เปิดใจฟังกันแบบผู้มีอารยะแบบปัญญาชน สังคมแบบนี้ยิ่งเจอก็ยิ่งเครียด กลายเป็นว่าคนที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นดี ๆ ก็โดนถล่มกลับ
是否察覺到如今的社交網絡,若有人發表反駁言論,大多數博主絕不會善罷甘休,定會重拳出擊,互不相讓。幾輪罵戰下來,毫無意義,雙方只不過是用各種謬論或言語來泄恨,結局就是“一罵二刪三拉黑”,因爲誰都不願像文雅儒士那樣相互傾聽。身處在這樣的社會中越久就越令人煩躁,從而使得哪怕有人發表了積極言論也會被無情回擊。

爲何如今的社交網絡成了“人間修羅場”? 第5張



營造一個良好的社交網絡環境,需要每個人的共同努力。而擾亂社交網絡秩序,則只需要少數幾個人。當我們遇到酸民和槓精時,無需跟他們多言。無視,就是給他們最好的回覆。


聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自sanook,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。