當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”?

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”?

推薦人: 來源: 閱讀: 9.92K 次

一定有很多人有這個疑惑:爲什麼 ขนมจีน 是米線呢?按照單詞翻譯,ขนม 是“零食、甜品”,จีน 是“中國”,可是連起來爲什麼就變成了“米線”的含義,難道不應該翻譯成“中式點心”嗎?今天讓我們來追溯一下詞源,一起來揭曉答案吧~

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”?

เคยสงสัยกันไหมคะว่าทำไมขนมจีนถึงเรียกว่า "ขนมจีน" ทั้งที่หน้าตาอาหารก็ดูไม่เหมือนขนมหรืออาหารจีนเอาเสียเลย วันนี้เรามีคำตอบมาให้ค่ะ

你是否也有過這樣的疑惑:爲什麼 ขนมจีน 要叫做 ขนมจีน?畢竟它的外觀可不太像中式甜品或者中餐吶。今天,我們終於有了這個問題的答案!

"ขนมจีน" เป็นอาหารคาวชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากแป้งข้าวเจ้า ขนมจีนนั้นเป็นอาหารที่พบเห็นกันได้ในแถบดินแดนสุวรรณภูมิ คนไทย คนมอญ คนพม่า คนลาว คนกัมพูชา และคนเวียดนามต่างก็มีขนมจีนเป็นอาหารที่กินกันในชีวิตประจำวัน จะต่างกันไปก็ตรงน้ำยาที่นำมาราดบนขนมจีนนั่นเอง ในประเทศไทยเองก็มีการกินขนมจีนกันทั่วไปในทุกพื้นที่ แต่ละพื้นที่จะมีชื่อเรียกและนิยมวิธีรับประทานที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น

“泰式米線”算是一種葷菜,是用粳米碾成的粉製成的。泰式米線這道菜在東南亞黃金半島上可以說是無處不有,泰國人、孟族人、緬甸人、老撾人、柬埔寨人,以及越南人,全都把這道菜作爲平時食用的家常菜之一。若要說互相之間有何區別,那就是米線的料汁澆頭會有所不同。在泰國的各個地區,也都有食用泰式米線的現象,只不過泰國的不同地區的泰式米線會有不同的叫法和食用方法。

 

-ภาคกลาง เรียกว่า "ขนมจีน" นิยมรับประทานคู่กับน้ำยา น้ำพริก แกงเผ็ด และเครื่องเคียงเป็นผักสดต่าง ๆ  ที่เราคุ้นเคยกันดี

【中部地區】稱作“ขนมจีน”,中部地區喜歡加料汁澆頭、辣椒醬、香辣湯,並佐以大家常吃的各種新鮮蔬菜。

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”? 第2張

椰漿醬料澆頭米線

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”? 第3張

蟹肉澆頭米線

-ภาคเหนือ เรียกว่า "ขนมเส้น" หรือข้าวเส้น หรือข้าวหนมเส้น นิยมรับประทานร่วมกับน้ำเงี้ยวหรือน้ำงิ้วเป็นองค์ประกอบสำคัญ รับประทานกับแคบหมูเป็นเครื่องเคียง

【北部地區】稱作“ขนมเส้น”、“ข้าวเส้น”或者“ข้าวหนมเส้น”,食用的時候要加入Nam ngiao(一種用番茄熬製成的泰北酸辣湯),這一點很關鍵,食用的時候要佐以炸豬皮。

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”? 第4張

Nam ngiao澆頭米線

-ภาคอีสาน เรียกว่า "ข้าวปุ้น" หรือว่า "นมปั่นเจ๊าะ" คล้ายกับกัมพูชา นิยมรับประทานกับน้ำยาใส่ปลาร้า ใส่กระชายเหมือนน้ำยาภาคกลาง และน้ำต้มกระดูก ปรุงรสด้วยน้ำปลาร้า ไม่ใส่เนื้อปลา และนำขนมจีนมาทำส้มตำเรียกตำซั่ว นิยมขนมจีนแป้งหมัก

【東北地區】稱作“ข้าวปุ้น”或者“นมปั่นเจ๊าะ”,和柬埔寨的比較相似,食用的時候喜歡放醃魚醬,放和中部地區相似的凹脣姜,並加入骨頭湯,和醃魚醬一起調味,不放魚肉,並將泰式米線加在涼拌青木瓜絲裏面,稱作“ตำซั่ว(米線青木瓜沙拉)”,並且喜歡吃用發麪作出來的泰式米線。

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”? 第5張

米線青木瓜沙拉

-ภาคใต้เรียกว่า "โหน้มจีน" โดยเป็นอาหารเช้าที่สำคัญของภาคใต้ฝั่งตะวันตก เช่น ระนอง พังงา ภูเก็ต รับประทานกับผักชนิดต่าง ๆ ทางภูเก็ตนิยมรับประทานกับปาท่องโก๋ ชาร้อน กาแฟร้อน ทางชุมพรนิยมรับประทานขนมจีนเป็นอาหารเย็น รับประทานกับทอดมันปลา ส่วนที่นครศรีธรรมราชรับประทานเป็นอาหารเช้าคู่กับข้าวยำ น้ำยาทางภาคใต้ใส่ขมิ้นไม่ใส่กระชายเหมือนภาคกลาง ถ้ารับประทานคู่กับแกงจะเป็นแกงไตปลา

【南部地區】稱作“โหน้มจีน”,是泰國南部西海岸地區很重要的早餐食品之一,比如:拉廊、盤牙、普吉,都喜歡配着各種蔬菜一起吃。普吉這邊的人喜歡配油條、熱茶、熱咖啡一起食用;春蓬府的人們喜歡晚飯的時候吃泰式米線,並且會就着炸魚油食用;至於洛坤府的人,喜歡早飯的時候就着藍花飯吃泰式米線;南部的料汁喜歡加高良薑,而不加中部喜歡的凹脣姜。如果要加湯汁,則加泰南醃魚肚湯。

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”? 第6張

洛坤府式米線

漲知識!ขนมจีน 爲啥叫“泰式米線”而不翻譯成“中國點心”? 第7張

泰南醃魚肚湯米線

พิศาล บุญปลูก ชาวไทยเชื้อสายรามัญผู้สนใจศึกษาอาหารและวัฒนธรรมมอญกล่าวว่า จริง ๆ แล้วขนมจีนเป็นอาหารของชาวมอญหรือชาวรามัญ ชาวมอญเรียกขนมจีนว่า “คนอมจิน” โดยคำว่า “คนอม” แปลว่า จับกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน ส่วนคำว่า “จิน” แปลว่าการทำให้สุก นอกจากนี้ "คนอม" นั้นสันนิษฐานว่าน่าจะใกล้เคียงกับคำไทย "เข้าหนม" ที่แปลว่าข้าวที่นำมานวดให้เป็นแป้งเสียก่อน ซึ่งต่อมาคำนี้ก็ได้เพี้ยนมาเป็น “ขนม” ดังนั้นคำว่าขนมในความหมายดั้งเดิมจึงไม่ได้แปลว่าของหวานอย่างที่เราใช้และเข้าใจกันในปัจจุบัน

菲桑·邦普拉克作爲一位對孟族飲食文化感興趣的學者,給出以下解釋:其實,泰式米線是一道孟族人或者拉曼人的當地食物,孟族人把泰式米線稱作 คนอมจิน,其中,คนอม 的意思是“成團、成塊”,或者“捆在一起、聚在一起”;至於後面的 จิน,意思其實是“煮熟”。除此以外,คนอม 這個詞,還可以推斷出它和泰語詞 เข้าหนม 含義相近,都表示“將米碾壓成粉”的意思,只不過 เข้าหนม 這個詞的發音到後來就偏離成 ขนม 了。也就是說,ขนม 這個詞,最初所指代的,並不是我們現在所說的“甜品”。

 

ขนมหรือหนม (ภาษาเขมร) และคนอม (ภาษามอญ) ต่างก็หมายถึงอาหารที่ทำมาจากแป้ง คำว่าขนมจีนจึงน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า คนอมจิน ของชาวมอญนั่นเอง ทำให้เกิดสมมุติฐานตามมาอีกว่า ดั้งเดิมทีเดียวขนมจีนเป็นอาหารมอญ แล้วจึงแพร่หลายไปสู่ชนชาติอื่น ๆ ในสุวรรณภูมิตั้งแต่โบราณกาล

泰語的 ขนม、柬埔寨語的 หนม,以及孟語的 คนอม,它們的含義都指的是“用米麪製成的食物”,ขนมจีน 應該來自於孟族人口中的 คนอมจิน 這個詞。同時,還可以做出的假設是:最開始的時候,泰式米線就是一道孟族人的當地菜,然後才慢慢地向整個東南亞黃金半島上各個地區傳播,從古,至今。

 

所以,大家現在知道啦,ขนมจีน 的本義是“把粳米碾壓成粉再使其成簇煮熟”,以後別人問你“爲什麼‘泰式米線’叫作 ขนมจีน”的時候,你就可以完美地跟他解釋清楚啦,千萬不要說是因爲這道菜來自中國哦!我們下期見。

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,未經允許禁止轉載。如有不妥,敬請指正。